เศรษฐกิจพอเพียง (การเลี้ยงจิ้งหรีด)
มาจาก : https://www.google.co.th/search?
ถิ่นฐานบ้านเกิดมีการพัฒนาความเป็นอยู่ในชุมชนโดยการสร้างรายได้ในชุมชน
การสร้างงานหรือวว่าหางานให้ชาวบ้านในชุมชนทำ ไม่อยากให้ชาวบ้านชุมชนว่าง
การสร้างรายได้โดยการเลี้ยงจิ้งหรีดขาย เพราะการเลี้ยงจิ้งหรีด ไม่ใช่เรื่องยาก และไม่ง่าย อยู่ที่ต้องเอาใจใส่ดูแลอย่างสม่ำเสมอ
ชนิดของจิ้งหรีด
จิ้งหรีดที่พบในประเทศไทย ซึ่งเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย มี 5 ชนิด
จิ้งหรีดที่พบในประเทศไทย ซึ่งเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย มี 5 ชนิด
1. จิ้งหรีดดำ ลำตัวกล้างประมาณ 0.70 ซม. ยาวประมาณ 3 ซม. ตามะรรมชาติมี 3สี คือ สีดำ สีทอง สีอำพัน โดยลักษณะที่เด่นชัดคือ จะมีจุสีเหลืองที่โคนปีก 2 จุด
2. จิ้งหรีดทองแดง ลำตัวกว้างประมาณ 0.60 ซม. ยาวประมาณ 3 ซม. มีลำตัวสีน้ำตาล เพศผู้มีสีเข้มกว่าเพศเมีย ส่วนหัวเหนือขอบตารวมต้านบนแต่ละด้านมีแถบสีเหลือ มองดูคล้ายหมวกแก๊ป มีความว่องไวมาก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียกจิ้งหรีดนี้เป็นภาษาถิ่นว่า จินาย อิเจ๊ก จิ้งหรีดม้า เป็นต้น
3. จิ้งหรีดเล็ก มี ขนาดเล็กที่สุด สีน้ำตาล บางท้องที่เรียกว่า จิลอ จิ้งหรีดผี หรือ แอ้ด เป็นต้น ลักษณะคล้ายจิ้งหรีดพันธุ์ทอดแดง แต่มีขนาดเล็กกว่า โดยขนาดประมาณหนี่งในสามของจิ้งหรีดพันธุ์ทองแดง
4. จิ้งโก่ง เป็นจิ้งหรีดขนาดใหญ่ สีน้ำตาล ลำตัวกว้างประมาณ 1 ซม. ยาวประมาณ3.50 ซม. ชอบอยู่ในรูลึก โดยจะขุดดินสร้างรังอาศัยได้เอง และพฤติกรรมชอบอพยพย้ายที่อยู่เสมอ มีชื่อเรกแตกต่างกันไป เช่น จิโปม จิ้งกุ่ง เป็นต้น
5. จิ้งหรีดทองแดงลาย มี 2 ชนิด คือ ชนิดที่มีปีกครี่งตัว และชนอดที่มีปีกยาวเหมือนจิ้งหรีดทั่วไป ตัวเต็มวัยสีน้ำตาลเข้ม ลำตัวกว้างประมาณ 0.53 ซม. ยาวประมาณ 2.05 ซม. ตัวเต็มวัยเหมือนพันธุ์ทองแดงแต่เล็กกว่าประมาณครึ่งหนึ่ง
ในวันนี้จะแนะนำการเลี้ยงจิ้งหรีด ตามแนวบ้านฟาร์มลุงบิว คือทำง่ายๆ ต้นทุนต่ำ ใช้วัสดุ ราคาไม่แพง สะดวก ทำความสะอาดง่าย หารายได้เข้าชุมชนและครอบครัวเป็นการเพิ่มรายได้ที่ดีมาก เพราะช่วงฤดูแล้งไม่มีน้ำปลูกข้าวด้วยลงทุนครั้งแรกประมาณ 5,000 บาท ทำบ่อปูนซีเมต์และเพิงหลังคามุงจาก เพิ่มรายได้ให้ครอบครัวเดือนละ 4,000 บาท จิ้งหรีด เป็นแมลงที่พบตามธรรมชาติ ในท้องทุ่งนาหรือตาม
สนามหญ้า วงจรชีวิตของจิ้งหรีดมีอายุ 3 เดือน แบ่งระยะการเจริญเติบโตเป็น 3 ระยะ คือ ระยะไข่ ระยะตัวอ่อน และระยะตัวเต็มวัย ปัจจุบันมีคนหันมาให้ความสนใจจิ้งหรีดมากขึ้น ด้วยการนำมาประกอบเป็นอาหารจานโปรด ให้สารอาหารที่มีโปรตีนสูงปลอดสารพิษ และสามารถรักษาโรคขาดสารอาหารได้อีกด้วย สำหรับอาชีพเลี้ยงจิ้งหรีดกลายเป็นอาชีพหนึ่งของราษฎรที่นี่ สร้างรายได้ให้ผู้เลี้ยง จนมีผู้หันมายึดอาชีพเลี้ยงจิ้งหรีดกันมากขึ้น จนเป็นการเพิ่มรายได้ของครอบครัวในชุมชน
ประโยชน์การเลี้ยงจิ้งหรีด
2. เพื่อส่งเสริมให้มีอาหารปลดสารพิษไว้บริโภค
3. เป็นกิจกรรมยามว่าง ส่งเสริมสุขาพจิต โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุ
4. เป็นอาหารสัตว์ เช่น ไก่ กบ เป็น ปลา และอื่น ๆ
5. ใช้ในอุตสาหกรรมอาหารกระป๋อง (จิ้งหรีดกระป๋อง)
6. เพื่อการกีฬา เช่น ใช้เป็นเหยื่อตกปลา
จึงเป็นการทำให้ชุมชนมีความสามัคคีกันมาขึ้น มีการพูดคุยกันบ้าง เลยทำให้ทุกคนเกิดความรักไข้กันมากขึ้นเลยทำให้ ผู้ใหญบ้านมีแนวความคิดในการสร้างแหล่งเพาะจิ้งหรีดให้กลับชุมชนขึ้นมาใหม่
ซึ่งตอนแรกได้ลงทุนเลี้ยงจิ้งหรีดเพียง 5,000 บาท มีบ่อปูนประมาณ 10 บ่อ สามารถจำหน่ายได้เดือนละประมาณ 3,000-4,000 บาท โดยนำตาข่ายไนล่อนสีเขียวคลุมปากบ่อหนา มีถาดอาหารน้ำ ดินร่วนปนทราย และเศษหญ้าแห้ง อาหารไก่ พร้อมพืช ผักตามธรรมชาติ การทำโรงเรือน ควรรักษาระดับความชื้นภายในบ่อ แล้ววางบ่อบนพื้นปูนฉาบปูนที่ขอบบ่อด้านล่าง เพื่อป้องกันศัตรูและมดที่จะเข้าไปทำลายจิ้งหรีด โดยติดแผ่นพลาสติกใสและเทปกาวที่ขอบบ่อด้านบน เพื่อป้องกันไม่ให้จิ้งหรีดออกจากบ่อแล้วค่อยใช้ตาข่ายไนล่อนสีเขียวครอบอีกชั้นหนึ่ง ต้องดูแลทุกเช้าและเย็น นำชอล์กกันมดมาขีดรอบบ่อซีเมนต์
สำหรับรายได้จะมีผู้มาซื้อถึงที่บ้านไม่ต้องไปขายไกล ราคากิโลกรัมละ 100 -150 บาท ทำให้ปัจจุบันจิ้งหรีดกลายเป็นสัตว์เศรษฐกิจของเกษตรกรที่หันมาเลี้ยง หลังฤดูกาลเพาะปลูก และในช่วงฤดูแล้งไม่มีน้ำปลูกพืช จึงยึดเป็นอาชีพเสริม สร้างรายได้ให้แก่ครอบครัวตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงอีกด้วย
อุปกรณ์การเพาะเลี้ยง
จากรูปข้างบนเราตักมาไว้ในกล่องโฟม (ดังรูปด้านล่างนี้)
2.กล่องฟิวเจอร์บอร์ด
3.ลังไข่ แบบกระดาษ ยิ่งเยอะยิ่งดี
4.จานสำหรับให้อาหาร น้ำ ใช้จานหรือวัสดุที่จิ้งหรีดเข้าไปกินได้
วงจรชีวิตจิ้งหรีด
ช่วง ระยะจาก ไข่-ตัวอ่อน
ระยะจากไข่ถึงตัวอ่อนใช้ระยะเวลา 7-12 วัน กรณีอุณหภูมิช่วงหน้าร้อน และระยะเวลา 15-25 วันช่วงหน้าหนาวหรืออากาศเย็น
หลังจากฟักแล้วก็ไปวางไว้ในกล่องที่เตรียมไว้
ช่วง ระยะจาก ไข่-ตัวอ่อน
ระยะจากไข่ถึงตัวอ่อนใช้ระยะเวลา 7-12 วัน กรณีอุณหภูมิช่วงหน้าร้อน และระยะเวลา 15-25 วันช่วงหน้าหนาวหรืออากาศเย็น
หลังจากฟักแล้วก็ไปวางไว้ในกล่องที่เตรียมไว้
การให้อาหารระยะตัวอ่อน
-ช่วงที่เป็นตัวอ่อนให้ใช้อาหารไก่เล็ก บด หรือต่ำให้ละเอียดคลุกกับร่ำอ่อนโรยให้ทั่วกล่อง
การให้อาหารหลังจากจิ้งหรีดเริ่มโตประมาณ 2-3อาทิตย์
-ผัก ไบไม้ ไบหญ้า ผักผลไม้ทั่วไป
การให้น้ำ
-ควรใช้ฟองน้ำชุปน้ำให้ชุ่มแล้วน้ำไปวางไว้ในภาชนะที่เตรียมไว้ระวังอย่าให้น้ำเลอะออกมาเพราะตัวอ่อนอาจจมน้ำ
ช่วงระยะโตเต็มวัย ระยะผสมพันธ์ -วางไข่
-ควรใช้ฟองน้ำชุปน้ำให้ชุ่มแล้วน้ำไปวางไว้ในภาชนะที่เตรียมไว้ระวังอย่าให้น้ำเลอะออกมาเพราะตัวอ่อนอาจจมน้ำ
ช่วงระยะโตเต็มวัย ระยะผสมพันธ์ -วางไข่
จิ้งหรีจะใช้เวลาระยะ 45-50 วันซึ่งพร้อมที่จะวางไข่ ให้ฟังเสียงจิ้งหรีดร้อง ระยะเสียงจิ้งหรีดอาทิตย์แรกเสียงร้องสำหรับหาคู่ หลังจากนั้นเสียงจิ้งหรีดจะร้องถี่ และดัง ให้เอาภาชนะ เพื่อเป็นที่วางไข่
http://xn--03cnior.blogspot.com/p/blog-page_25.html
การจัดการ
1. สถานที่เลี้ยง ต้องป้องกันแสงแดดและฝนได้ อากาศถ่ายเทได้สะดวก เช่น โรงเรือนเลี้ยง ใต้ถุนบ้าน ชายคา บ้าน เป็นต้น
1. สถานที่เลี้ยง ต้องป้องกันแสงแดดและฝนได้ อากาศถ่ายเทได้สะดวก เช่น โรงเรือนเลี้ยง ใต้ถุนบ้าน ชายคา บ้าน เป็นต้น
2. พ่อแม่พันธุ์จิ้งหรีด ได้จากจิ้งหรีดตัวเต็มวัยที่ผสมพันธุ์แล้ว โดยไม่ต้องคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์ ใน 1 บ่อ มี ประมาณ 8,000 ตัว
3. การขยายพันธุ์ วางถาดไข่สำหรับวางไข่ 4-6 อัน ย้ายถาดไข่ออกวางถาดไข่อันใหม่อีก 4-6 อัน จะได้จิ้งหรีด ที่เป็นรุ่นเดียวกัน ใน 1 บ่อ สามารถวางถาดไข่ได้ 2-3ครั้ง
4. การให้น้ำให้ดูขวดที่ใส่น้ำถ้าแห้งให้เติมใหม่ ถ้าสกปรกให้ล้างออก หรือใช้ต้นกล้วยดิบตัดเป็นท่อนๆ แตงกวา ชนิดต่างๆ เช่น แตงกวา แตงโม น้ำเต้า ให้จิ่งหรีดดูดกินน้ำ เมื่อตัวเล็กๆ
5. การให้อาหาร อาหารหลักได้แก่ผักชนิดต่างๆ เช่นผักกาด กะหล่ำ หญ้า มะละกอ อาหารรองใช้อาหารไก่เล็กผสมกับแกลบอ่อน อัตรา 1: 1 เมื่อจิ้งหรีดอายุ 40-50วันพร้อมที่จะนำมาบริโภคและจำหน่ายต่อไป
6. เมื่อจับจิ้งหรีดในบ่อแล้ว ให้ทำความสะอาดบ่อเลี้ยงโดยการเก็บวัสดุรองพื้นบ่อออกให้หมด ส่วนขวดน้ำ ถาดอาหาร ถาดไข่ ที่หลบภัย ทำความสะอาดสามารถนำมาใช้ได้อีกค่าตอบแทน
โรคและศัพตรูของจิ้งหรีด
จิ้งหรีดเป็นแมลงที่ไม่ค่อยมีโรคและศัตรูรบกวนมากนัก ควรป้องกันไว้ก่อนดีกว่าการกำจัด ซึ่งจะเป็ฯอันตราต่อจิ้งหรีดและผู้บรืโภคโรคทางเดินอาหาร เกิดจากจิ้งหรีดได้รับอาหารที่ไม่สะอาด เกิดเชื้อรา วิธีป้องกัน คือ การให้อาหารที่มีจำนวนพอเหมาะกับจำนวนจิ้งหรีดเมื่อเก็บผลผลิตหมดแล้วควรทำความสะอาดบ่อก่อนนำจิ้งหรีดรุ่นใหม่มาเลี้ยงสัตว์ศัตรู เช่น มด จิ้งจก ไร แมงมุน ป้องกันโดยโช้ตาข่ายคลุมให้มิดชิด
ต้นทุน การเลี้ยง 1 บ่อ ไม่รวมอุปกรณ์การเลี้ยง
- ค่าอาหารไก่ 3 กก. ละ 16 บาท รำอ่อน 3 กก. ๆละ 8 บาท รวม 72 บาท
- ค่าแรงในการจัดการเลี้ยง 100 บ่อ แต่ละรุ่นใช้เวลาเลี้ยงประมาณ 2 เดือน คิดเฉลี่ยทำงานวันละ 1 ชม. = 7.5 วัน คิดเป็นเงิน 9.75 บาท
- ค่าพันธุ์จิ้งหรีด 120 บาท รวมบ่อละ 201.75 บาทรายได้ จิ้งหรีด 1 บ่อ จะได้ประมาณ 2-3 กก. ๆละ 150-200 บาท รวมบ่อละ 300-600 บาทถาดไข่ 4 อันๆละ 60บาท รวม 240 บาทรายได้ 1 บ่อ ประมาณ 338.25-638.25 บาท
มาจาก : http://cricketgid.blogspot.com/
จาก : https://www.google.co.th/search? นำใช้ในการเรียนการศึกษา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น